[Grafana]How To ติดตั้ง Grafana บน CentOS 8
คู่มือติดตั้ง Grafana บน Centos 8
สำหรับมือใหม่ติดตั้งใหม่ๆ นะครับ จำเป็นต้องเชื่อมต่อ internet นะครับ
มี 10 ขั้นตอนหลักๆ
1. เตรียมพร้อมเบื้องต้น
2. ติดตั้งและอัพเดตแพ็คเกจใหม่ที่จำเป็น
3. เพิ่ม repositories สำหรับ yum install
4. ติดตั้ง Grafana แบบ yum
5. ตรวจสอบ service ของ grafana-service
6. สั่งเปิด service และเปิด port 3000 ของ firewall rules
7. เปิดใช้ grafana v6 Web UI
8. ปิดการใช้งานการลงทะเบียนผู้ใช้ใหม่ ( หลังจากเพิ่ม user admin ผู้ดูแลแล้ว )
9. สร้าง dashboard แรกของเรากัน
10. แชร์ dashboard สำหรับ ผู้ใช้ทั่วไป ให้ดูได้อย่างเดียว
มาเริ่มต้นกันเลย
1. เตรียมพร้อมเบื้องต้น
หากต้องการติดตั้ง Grafana บน CentOS 8 คุณจะต้องมีสิทธิ์ sudo บนโฮสต์ของคุณ
เพื่อให้แน่ใจว่าเป็นเช่นนั้น ให้เรียกใช้คำสั่งต่อไปนี้
$ sudo -l
User <user> may run the following commands on localhost: (ALL) ALL
2. ติดตั้งและอัพเดตแพ็คเกจใหม่ที่จำเป็น
$ sudo yum update
3. เพิ่ม repositories สำหรับ yum install
$ sudo vi /etc/yum.repos.d/grafana.repo
[grafana]
name=grafana
baseurl=https://packages.grafana.com/oss/rpm
repo_gpgcheck=1
enabled=1
gpgcheck=1
gpgkey=https://packages.grafana.com/gpg.key
sslverify=1
sslcacert=/etc/pki/tls/certs/ca-bundle.crt
แล้วบันทึก :wq
4. ติดตั้ง Grafana แบบ yum
$ sudo yum install grafana
กด Y เพื่อยืนยัน
5. ตรวจสอบ service ของ grafana-service
$ cat /usr/lib/systemd/system/grafana-server.service
[Unit] Description=Grafana instance
Documentation=http://docs.grafana.org
Wants=network-online.target
After=network-online.target
After=postgresql.service mariadb.service mysql.service
[Service]
EnvironmentFile=/etc/sysconfig/grafana-server
User=grafana
Group=grafana
Type=notify
Restart=on-failure
WorkingDirectory=/usr/share/grafana
RuntimeDirectory=grafana
RuntimeDirectoryMode=0750
ExecStart=/usr/sbin/grafana-server \ –config=${CONF_FILE} \ –pidfile=${PID_FILE_DIR}/grafana-server.pid \ –packaging=deb \ cfg:default.paths.logs=${LOG_DIR} \ cfg:default.paths.data=${DATA_DIR} \ cfg:default.paths.plugins=${PLUGINS_DIR} \ cfg:default.paths.provisioning=${PROVISIONING_CFG_DIR}
LimitNOFILE=10000
TimeoutStopSec=20
UMask=0027
[Install]
WantedBy=multi-user.target
สร้าง user = grafana
สร้าง group = grafana
แล้วกำหนดค่าตามนี้ในไฟล์ environment variable file (etc/sysconfig/grafana-server)
GRAFANA_USER=grafana
GRAFANA_GROUP=grafana
GRAFANA_HOME=/usr/share/grafana
LOG_DIR=/var/log/grafana
DATA_DIR=/var/lib/grafana
MAX_OPEN_FILES=10000
CONF_DIR=/etc/grafana
CONF_FILE=/etc/grafana/grafana.ini
RESTART_ON_UPGRADE=true
PLUGINS_DIR=/var/lib/grafana/plugins
PROVISIONING_CFG_DIR=/etc/grafana/provisioning
# Only used on systemd systems
PID_FILE_DIR=/var/run/grafana
$ sudo systemctl start grafana-server
$ sudo systemctl status grafana-server
● grafana-server.service – Grafana instance
Loaded: loaded (/usr/lib/systemd/system/grafana-server.service; disabled; vendor preset: enab
Active: active (running) since Sat 2019-06-08 16:01:56 UTC; 3 weeks 0 days ago
Docs: http://docs.grafana.org Main PID: 10164 (grafana-server)
Tasks: 10 (limit: 4704)
CGroup: /system.slice/grafana-server.service
└─10164 /usr/sbin/grafana-server –config=/etc/grafana/grafana.ini
ถ้า active (running) แสดงว่าทำงานปกติครับ
6. สั่งเปิด service และเปิด port 3000 ของ firewall rules
$ sudo firewall-cmd –add-port=3000/tcp –permanent
$ sudo firewall-cmd –reload
$ sudo firewall-cmd –list-all | grep ports
7. เปิดใช้ grafana v6 Web UI
เปิด browser แล้วใส่ URL
http://localhost:3000 แล้วกด enter.
user เริ่มต้นคือ
่user = admin
pass = admin
เข้าได้แล้ว ระบบจะให้กำหนดรหัสผ่านใหม่ โดยต้องกำหนดเอาเองนะครับ
8. ปิดการใช้งานการลงทะเบียนผู้ใช้ใหม่ ( หลังจากเพิ่ม user admin ผู้ดูแลแล้ว )
กำหนดเสร็จแล้ว มาทำการปิด ไม่ให้ใครเข้าไปสร้าง user ได้เอาเอง ด้วยนะครับ
$ sudo vi /etc/grafana/grafana.ini
(in Vi) ?[users]
[users]
# disable user signup / registration
;allow_sign_up = true
# Allow non admin users to create organizations
;allow_org_create = true
# Set to true to automatically assign new users to the default organization (id 1)
;auto_assign_org = true
โดยกำหนดค่าตามนี้
;allow_sign_up = false
บันทึกแล้ว ให้สั่ง restart grafana ด้วย
$ sudo systemctl restart grafana-server
9. สร้าง dashboard แรกของเรากัน
–
– เดี่ยวมาต่อใน EP.2 นะครับ จะได้เอาตัวอย่าง นี้มาให้ทดสอบตามครับ
10. แชร์ dashboard สำหรับ ผู้ใช้ทั่วไป ให้ดูได้อย่างเดียว
ประมานนี้ก่อนนะครับ สำหรับมือใหม่ เดี่ยวว่างแล้วจะมาต่อ EP.2
ขอบคุณที่ติดตาม แล้วพบกันใหม่ครับ (ไม่นาน…. )